วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2558

Recorded Diary 10 october 20.2015











1.The knowledge gained ( ความรู้ที่ได้รับ)
รายงานการวิจัย

1.นางสาว ปรางชมพู บุญชม  เลขที่ 10
เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
       ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ปริญญานิพนธ์ของ เอราวรรณ ศรีจักร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ    
 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
จึงเป็นรูปแบบหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่
สามารถส่งเสริมและพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ของเด็กปฐมวัยได้ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า
เด็กเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ากการสังเกตขณะที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
ที่มีสื่ออย่างหลากหลายและทำชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
ที่เน้นสมองเป็นฐานการเรียนรู้ในแต่ละครั้งเด็กได้นำ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้อย่างต่อเนื่อง 
ทั้งทักษะการสังเกต การจำแนก การสื่อสารและการลงความคิดเห็น
จึงส่งผลให้เด็กได้รับการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์



2.นางสาว ชนากานต์ แสนสุข


การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผ่านทักษะการสืบเสาะ 
ต้องอาศัยหลักคิดทางวิทยาศาสตร์ มีการเเลกเปลี่ยน 
วิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ตัวเเปรต้น แผนกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตัวแปรตาม การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเด็ก 
โดยการเขียนแผนให้เด็กมีประสบการณ์มากขึ้น

- เล่นสนุกกับน้ำ เป็นการฝึกการสังเกต การลงความเห็น สเปซกับเวลา

- เล่านิทานริมน้ำ จากนั้นให้เด็ฏมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับน้ำ
ครูแบ่งกลุ่มเด็กออกเป็นกลุ่มๆ แจกขวดน้ำ แชมพู หรือขวดยาสระผม ให้เด็ก 

ขวดที่ไม่มีน้ำกับขวดที่มีน้ำมีลักษณะอย่างไร
ครูแนะนำให้เด็กยืนเเถวเรียงเเต่ละกลุ่ม
 ให้เด็กที่อยู่หัวเเถวบีบขวดที่มีน้ำให้ได้ระยะทางไกลที่สุด และสลับกันทุกคน



3. เก็บตก ของ นางสาว รัตนาภรณ์  คงกะพันธ์ 

        การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์สามารถพัฒนาการคิดวิจารณญาณได้
 โดยเด็๋กเป็นผู้ลงมือปฎิบัติการทดลองด้วยตนเอง 
ลักษณะกิจกรรมเด็กจะได้สังเกตวัสดุ  อุปกรณ์ วางแผนการทดลอง
 สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงและสรุปผลการทดลอง
ตามความเข้าใจของตนเอง ทำให้เกิดการวิเคราะห์ 
การสังเคราะห์ การใช้เหตุผลและการประเมินค่า 
ซึ่งเป็นองค์ประกอบของการคิดวิจารณญาณ ค
รูมีบทบาทในการใช้คำถามเพื่อกระตุ้นให้เด็กคิด  ขณะที่ทำกิจกรรม



ระดมความคิดในการทำ  Cooking ภายในกลุ่ม
กลุ่มดิฉันทำเรื่อง ข้าวจี่ไส้หมูหยอง





วัสถุดิบ
1.ไข่ไก่
2.หมูหยอง
3.ซอสถั่วเหลือง
4.เกลือ
5.ไม้เสียบข้าวจี่
6.น้ำตาล

วิธีทำ

1.ปั้นข้าวจี่เป็นก้อนตามชอบ  

2.ใส่ไส้หมูหยองและใช้ไม้เสียบข้าวที่ปั้นไว้จะได้ง่ายเวลาย่าง
3.ไฟตอกไข่ไก่ ตีไข่ให้เข้ากัน ปรุงรสด้วยน้ำตาลและซอสปรุงรส
4.เมื่อเตาย่างได้ที่ นำข้าวปั้นขึ้นย่างไฟ
5.จากนั้นนำข้าวจี่ชุบไข่แล้วนำกลับไปปิ้งให้สุก หากใครชอบไข่หนาๆก็ชุบหลายรอบ เราชอบไข่หนาๆก็ชุบจนไข่หมด




2.skills (ทักษะ)

       อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนองานวิจัย แล้วอาจารย์จะเพิ่มเติม
ความรู้ให้ในวิจัยนั้นๆ
การใช้คำถามถามข้อสงสัยในสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
เพื่อให้ได้รับความรู้ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น
ฝึกคิดเชื่อมโยงกิจกรรมเพื่อนำมาเขียนเป็นกระบวนการ
เพื่อให้เห็นภาพการสอนที่ชัดเจนยิ่งขึ้น 
และการเชื่อมโยงการทำ cooking สู่กระบวนการทางวิทยาศาสตร์



3.Apply(การประยุกต์ใช้)       

  รู้จักการวางแผนในการสอนเด็กแบบเป็นขั้นตอน
สามารถนำมายเเมบที่เราได้จัดทำไปสู่การเขียนแผน
ได้ในครั้งต่อไปนำเอาสิ่งที่ได้จากการฟังวิจัยหลายๆเรื่อง
ที่เพื่อนนำเสนอไป
จัดกิจกรรมให้กับเด็กได้สิ่งที่คิดในคุกกิ้งมีประโยชน์
สามารถนำเรื่องของการทำคุกกิ้งโยงเข้าสู่วิทยาศาสตร์ได้



4.technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
ให้นักศึกษามีความคิดที่หลากหลาย คิดนอกกรอบ

รู้จักการนำเสนอสื่อของเล่นให้น่าสนใจ
เเละน่าเรียนรู้และการใช้คำถามเพื่อโยงเข้าสู่หลักวิทยาศาสตร์



5. assessment (ประเมิน)

ตัวเอง         -มา้รียนสาย 5นาที แต่งกายสุภาพเรียบร้อย  ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียน 
                  มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมภายในห้องเรียนและร่วมตอบคำถาม
เพื่อน         - แต่งกายสุภาพเรียบร้อยทุกคนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมภายในห้องเรียนเป็น อย่างดี

ครูผู้สอน    - แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเข้าสอนตรงเวลา สอนเข้าใจง่าย อธิบายเนื้อหาในการสอนได้ละเอียดเข้าใจง่าย


ห้องเรียน    - ห้องสะอาดเรียบร้อย อุปกรณ์พร้อมใช้งาน










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น