วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558

Recorded Diary 7 September 22.2015







1.The knowledge

นำเสนอวิจัยของนางสาว รัตนาภรณ์ คงกะพันธ์

เกี่ยวกับเรื่องการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร 

ของ  ผู้วิจัย เสกสรร มาตวังแสง  โดยลักษณะในการจัดกิจกรรมคือการให้เด็กได้ลงมือทำเอง 
ทําการศึกษากับกลุมตัวอยางที่เปนเด็กปฐมวัย โดยผูวิจัยสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยาง1 สัปดาหกอนการทดลอง จากนั้นนทําการทดสอบเพื่อวัดการคิดวิจารณญาณกอนการทดลองโดยใชแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ผูวิจัยสรางขึ้น นําแบบทดสอบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยมาทดสอบอีกครั้ง และนําขอมูลทที่ไดจาก

การทดสอบไปทําการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทางสถิต


วิจัยของนางสาว วราภรณ์ แทนคำ

เกี่ยวกับเรื่อง การสร้างชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยของผู้วิจัย จุฑามาศ เรือนกำ  เป็นการสร้างเเละการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยชุดกิจกรรมถูกสร้างขึ้นมาอย่างมีระบบ โดยใชุชุดกิจกรรมทั้งหมด 20 ชุด การจัดกิจกรรมเเละเวลาที่ใช้ก็มีความเหมาะสมเเละสอดคล้องกับวัย


วิจัยของนางสาว ยุภา ธรรมโคตร
เกี่ยวกับเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ของผู้วิจัย ยุพาภรณ์ ชูสาย    จะจัดกิจกรรมแบบเป็นการทดลองเปิดโอกาสให้เด็กทำกิจกรรมด้วยตนเอง เป้นการให้อิสระแก่เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งครูคอยแนะนำและช่วยเหลือให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ด้วยการทดลอง เรื่องสีจากธรรมชาติ จะสอนในเรื่อง การสังเกต การจำแนก และการหามิติสัมพันธ์






**กิจกรรม/ Activity**


นำเสนอสื่อ เกี่ยวกับเรื่อง เงา

**กระบอกหรรษา ปริศนาพาเพลิน**

อุปกรณ์

1.แกนกระดาษทิชชู่  2.กระดาษA4 กระดาษแข็ง กระดาษสี 3.ไฟฉาย 4.กรรไกร
5. มีดคัตเตอร์ 6.สีตกแต่ง




ขั้นตอนการทำ

1. วาดภาพใส่กระดาษแข็งตามจินตนาการที่ตนเองชอบ



ตัดรูปตามที่วาด





2.เจาะตรงปลายของแกนทิชชู่





3.นั้นนำภาพที่วาดที่เตรียมไว้มาใส่ในช่องของแกนกระดาษทิชชู่ที่เจาะไว้ พร้อมทั้งตกแต่งให้สวยงาม







4.จากนั้นนำไฟฉายมาส่องแกนกระดาษทิชชู่ จะทำให้เกิดเงา







**วิธีการเล่น**

นำแกนขนาดทิชชู่ของเรา และนำแผ่นภาพที่เตรียมไปสอดในช่องจากนั้นของแกนกระดาษทิชชู่ปิดไฟให้มืดหรือเล่นบริเวณมีแสงแดดส่อง และนำไฟฉายมาส่องภาพจะทำให้เกิดเงาของภาพตามที่เราวาดไว้และ เรานำประโยชน์จากเงามาใช้ในกิจกรรมต่างๆ เช่น เล่านิทาน หนังตะลุง เป็นต้น

ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์
การเคลื่อนที่ของแสงและการเกิดเงา
การเกิดเงา
เมื่อเมื่อแสงตกกระทบกับวัตถุทึบแสง แสงไม่สามารถผ่านทะลุวัตถุ จึงทำให้เกิดเงาของวัตถุ







เมื่อแสงตกกระทบวัตถุที่ทึบแสง จะเกิดเงาที่ด้านหลังวัตถุเสมอ โดยเงาที่เกิดขึ้นอาจจะมีทั้งเงามืดหรือเงามัว จะขึ้นอยู่กับ ขนาดของแหล่งกำเนิดแสง ขนาดของวัตถุ ระยะห่างระหว่างวัตถุกับแหล่งกำเนิดแสง
การเกิดเงาเมื่อแหล่งกำเนิดแสงเป็นจุด



2.skills (ทักษะ)

- การใช้คำถามเพื่อที่เราจะได้เข้าใจในวิจัยที่เพื่อนำเสนอ
- การใช้ความคิดการนำเสนอสื่อให้เพื่ิอนเกิดความเข้าใจ และเทคนิคต่างๆในการนำเสนอผลงานของตนเอง
- การระดมความคิดและแสดงความคิดเห็น



3.Apply(การประยุกต์ใช้)

สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่เพื่อนๆนำมาเสนอไปใช้ในการสอนเด็ก
นำสิ่งประดิษฐ์ที่เราทำไปประยุกต์ใช้หรือปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับหน่วยต่างๆทางวิทยาศาสตร์



4.technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
การคิดนอกกรอบให้มีความคิดจินตนาการที่หลากหลายรู้จักการนำเสนอสื่อของเล่นให้น่าสนใจเเละน่าเรียนรู้การใช้คำถามเพื่อโยงเข้าสู่หลกวิทยาศาสตร์
ไปประยุกต์ใช้หรือปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับหน่วยต่างๆทางวิทยาศาสตร์ในอนาคตได้



5. assessment (ประเมิน)

ประเมินตัวเอง      แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลาเตรียมตัวพร้อมที่จะออกไปเสนอของเล่นของตนเองและมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม

ประเมินเพื่อน     แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา เพื่อนๆช่วยกันระดมความคิดเเละให้ความสนใจกับเพื่อนที่ออกมานำเสนอของเล่น และตั้งใจดู

ประเมินห้องเรียน    ห้องเรียนสะอาด บรรยากาศน่าเรียน แอร์เย็น เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา เเต่มีปัญหาเรื่องอินเทอร์เน็ตที่ไม่สามารถเชื่อมต่อได้

ประเมินอาจารย์     เเต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลาเตรียมตัวมาสอนด้วยความพร้อม ให้เราได้ใช้ความคิดเเละการหาคำตอบส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนได้คิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในห้องเรียน











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น