วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Recorded Diary 13 september 10.2015





การทำ Cooking







1.The knowledge gained ( ความรู้ที่ได้รับ)
การทำ Cookingโดยแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม แล้วให้เวียนกันทำในฐานต่างๆ
ที่จัดเตรียมไว้ให้   1.การทำวาฟเฟิล  (Waffen) 2.การทำทาโกยากิ  (Takoyaki ) 







                                   ***1.การทำวาฟเฟิล  (Waffen)***


อุปกรณ์ ( Equipment )

-   แป้ง ( Flour ) 
-   เนย ( Butter )
-   นม ( mike )
-   ไข่ไก่ ( Egg )
-   น้ำ ( Water )
-   ถ้วย ( Cup )
-   จาน ( Stove )
-   ช้อน ( Spoon )
-   ที่ตีไข่ ( Whisk )
-   เครื่องทำวาฟเฟิล (plate)




ขั้นตอนการทำ 

1. นำแป้ง ไข่ไก่ น้ำใส่ลงไปในถ้วย ตีส่วนผสมให้เข้ากัน
2. ใส่นมจืดแล้วตีส่วนผสมให้เข้ากัน
3. เมื่อตีวัตถุดิบเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ตักแบ่งใส่ถ้วยเล็ก
4. ทาเนยที่เตาแล้วหยอดวัตถุดิบในถ้วยลงไป 
5. เมื่ออบจนได้ที่แล้วจึงนำมารับประทาน พร้อมตกแต่งให้สวยงาม



























*** 2.การทำทาโกยากิ  (Takoyaki ) ***


อุปกรณ์ ( Equipment )

-  ไขไก่ ( Egg )
-  ข้าวจ้าวหุงสุก
-   ต้นหอม
-   ปูอัด
-   เนย ( Butter )
-   ถ้วย ( Cup )
-   จาน ( Stove )
-   ช้อน ( Spoon )
- เครื่องทำทาโกยากิ













ขั้นตอนการทำ 

1.ตักข้าวสวยใส่ถ้วย 3 ช้อนโต๊ะ
2.ตักไข่ที่ต๊อกไว้ให้ 1 ทับพี
3.หันหอมและปูอัด พอประมาณ
4.น้ำไปตักใส่หลุมทอดทาโกยากิให้สุก
จึงนำมารับประทาน พร้อมตกแต่งให้สวยงาม































2.skills (ทักษะ)

 ทักษะที่ได้รับการสังเกต เด็กได้สังเกตว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้างที่ใช้ทำทาโกยากิ
การจำเเนก เปรียบเทียบ การใช้ข้าวเเทนแป้ง เด็กได้รู้จักการตวงส่วนผสม การใช้สัดส่วนการสื่อความ อธิบายได้ว่าทาโกยากิสุกได้อย่างไรการลงความเห็น  เด็กเเต่ละคนจะใส่ส่วนผสมที่ต่างกัน ก็จะดูว่าถ้าใส่ซอสกี่ช้อนจึงจะมีรสชาติที่อร่อยมิติสัมพันธ์ คำนวนเวลาว่าควรใช้เวลาเท่าไหร่ทาโกยากิถึงจะสุกเเล้วน่าทานและการคำนวน คำเวลาว่าควรจะกลับด้านทาโกยากิเวลาไหน ปิ้งเเต่ละข้างนานเท่าไหร่

3.การนำไปประยุกต์ใช้ ( Application )

      เพื่อนำความรู้จากการทำ Cooking ไปจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้ สามารถนำวิธีการทำวาฟเฟิล และ ทาโกยากิ ไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนแผนการเรียนการสอนเรื่องการประกอบอาหารได้ สามารถปรับไปใช้ในการจัดกิจกรรมแก่เด็กปฐมวัยได้เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การชั่งตวงในการใส่ส่วนผสม


4.technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
สอนเรื่องการนำเสนอ  และการได้ลงมือปฏิบัติจริง
เด็กได้ลงมือทำด้วยตนเอง เช่น การตักส่วนผสม ทั้งข้าว ไข่ ปูอัด หัวหอม
เด็กเเก้ปัญหาด้วยตนเอง ว่าควรจะมีวิธีการอย่างไรให้ได้ก้อนกลมสวยงาม
ฝึกได้เด็กรู้จักการสังเกตจากเพื่อนว่าเพื่อนทำอย่างไรเเละนำมาปรับปรุงของตนเอง







5. assessment (ประเมิน)

ตนเอง   : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังเพื่อนๆนำเสนอวิจัย ซึ่งเป้นวิจัยที่มีเนื้อหาสาระที่ดีเหมาะกับการนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เด็กปฐมวัยทางด้านวิทยาศาสตร์ มีตัวอย่างการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์มากมาย ที่เราสามารถนำไปเป็นโครงเรื่องในการเขียนเเผนการสอนให้กับเด็ก เเละวันนี้ก็ได้ความรู้เพิ่มเติมอีกอย่างหนึ่งจากอาจารย์  คือการจัดกิจกรรมการทำCookingมีวิธีการทำไม่ยุ่งยากเเละไม่สับซ้อนเหมาะกับไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้ 


เพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน และตั้งใจร่วมกันทำกิจกรรมในห้องเรียนได้เป็นอย่างดี สนุกสนานกันในการเรียนวิชานี้

อาจารย์อาจารย์เข้าสอนตรงเวลามาก เเต่งกายสุภาพเรียบร้อย อาจารย์มีเทคนิควิธีการสอนดีมาก ๆ  มีเทคนิคการจัดกิจกรรมการสอนทำCooking ที่ไม่ให้นักศึกษาเกิดความวุ่นวายเลย มีการเตรียมอุปกรณ์ที่พร้อมเเละเพียงพอสำหรับเด็ก มีการสาธิตวิธีการทำให้นักศึกษาได้ดู และมีพูดถึงข้อควรระวังในความปลอดภัยในขณะที่เด็กๆทำกิจกรรมด้วย วันนี้นักศึกษาและอาจารย์รู้สึกสนุกสนานในการทำกิจกรรมยิ้มหัวเราะกันอย่างมีความสุขในช้้นเรียน

ห้องเรียน    ห้องเรียนสะอาด เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา












ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น